พระเครื่องทั้งหมด 967 ชิ้น 
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
ประเภทพระเครื่อง
ภาพวาดผลงานศิลปิน,รูปถ่ายเก่าซีเปีย (132) พระกริ่ง รูปหล่อ เหรียญหล่อ (81) เหรียญพระพุทธ เหรียญเกจิ เหรียญที่ระลึก (35) เครื่องราง (182) พระปิดตาเนื้อโลหะ,ผงคลุกรักษ์ (35) พระเนื้อผง ดิน ว่าน (59) พระบูชา (104) หนังสือพระ (1) ศาสตราวุธโบราณ (44) อนุรักษ์พระกรุ (13) พระเครื่องเรื่องเล่าตำนานสายเหนียว (7)
เมนูช่วยเหลือ
วิธีการสั่งซื้อ
วิธีการชำระเงิน
คำถาม-ตอบ
เงื่อนไขการสั่งซื้อ
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา
พระเครื่องที่บูชาแล้ว
พระใหม่ 100 รายการ
โปรโมชั่นพิเศษ
สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 967 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 7 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 2 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 684 ชิ้น
บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
หลวงพ่อโต วัดเนิน
หลวงปู่ภู่ วัดนอก
หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือแกลง
หลวงพ่อหิน วัดหนองสนม
หลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ
หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาลวัน
หลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย
หลวงปู่กงมา วัดดอยธรรมเจดีย์
หลวงปู่เจี๊ยะ วัดภูริทัตตปฏิปทาราม
หลวงปู่เผือก วัดสาลีโขภิตาราม
หลวงปู่เหรียญ วัดบางระโหง
หลวงปู่เหมือน วัดโรงหีบ
หลวงพ่อเส็ง วัดประจันตคาม
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด
อัตราแลกเปลี่ยน
ราคาน้ำมัน
ชำระผ่านธนาคาร
 ไทยพาณิชย์ 136-232797-4  กสิกร 735-2-43729-2  กรุงเทพ 009-006097-1  กรุงไทย 086-0-22285-3
 
 
รายละเอียดเพิ่มเติม

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


 
หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง
ประวัติข้อมูล หลวงพ่อไปล่ ฉันทสโร วัดกำแพง กรุงเทพฯ

เกิด                     วันอังคาร เดือน 6 ปีวอก พ.ศ.2403  เป็นคนบางบอนใต้ บางขุนเทียน ธนบุรี  เป็นบุตรของ นายเหลือ  นางทอง  ทองเหลือ

อุปสมบท               อายุ 23 ปี ตรงกับ พ.ศ. 2426  ณ พัทธสีมาวัดกำแพง

มรณภาพ               ปี 2482

รวมสิริอายุ             79 ปี 56 พรรษา

วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

          วัตถุมงคลที่ขึ้นชื่อและได้รับความนิยมมากที่สุดของท่าน ได้แก่ เหรียญหล่อ ปี2478   ซึ่งสร้างขึ้นเนื่องในโอกาสมีอายุครบรอบ 75 ปี มี 2 พิมพ์ คือ เหรียญจอบ  และเหรียญรูปไข่   ซึ่งทั้งสองพิมพ์นี้ได้จัดว่าเป็นที่นิยมมากที่สุด  สร้างจากเนื้อโลหะผสมทองเหลือง  ด้านหลังเหรียญปรากฏอักษรภาษาไทยเป็นตัวนูนระบุว่า “ที่ระฤก ๔๗๘”        

พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา

หลวงพ่อไปล่  ฉันทสโร  วัดกำแพง  กรุงเทพฯ

 


 
ที่ตั้งและสภาพทั่วไป 
 วัดกาแพงตงอยเลขที่ ๒๙๙ ซอยเพชรเกษม๒๐ ถนนเพชรเกษม แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กรงเทพฯ ๑๐๑๖๐ ริมคลองบางหลวง(หรอเรยกวาคลองบางกอกใหญ)ตอนใน ช่วงที่เรียกกันวา “คลองชกพระ”โดยตั้งอยู่บนที่ดินทางด้านทิศใต้ของฝั่งคลองบริเวณหัวมุมปากคลองบางจาก ซึ่งเป็นคลองแยกจากคลองชักพระเขาไปทางทิศใต้ วัดกาแพงเป็นเจ้าของกรรมสิทธ์ที่ดินทั้งหมดประมาณ ๑๕ ไรโดยแยกเปนโฉนด ๒ ฉบบคอโฉนดเลขท ๑๓๘๐๒๘ มเนอทประมาณ ๑๑ ไร ๓ งาน ๙๗ ตารางวา (แผนผงท ๑) และอกฉบบเปนท่ดนอกประมาณ ๔ ไร อยอีกฝงของคลองบางจาก (ท่านเจ้าอาวาสแจ้งว่าเอกสารสญหาย แตยังไม่ได้ไปคัดสำเนาจากกรมที่ดิน) ที่ดินของวัดถูกแบ่งเปน ๒ สวน โดยมีคลองบางจากผ่านกลางที่ดินของวัด โดยพื้นที่สวนใหญ่อยู่ทางทิศด้านตะวันออกของคลองบางจากซึ่งเป็นที่ตั้งของเขตพุทธาวาส (แผนผังที่ ๒) อาณาเขตด้านทิศตะวนออกของคลองบางจาก 
- ทิศเหนือ จรดคลองชักพระ(คลองบางหลวง) 
- ทิศใต้ จรดที่ดินของเอกชน 
- ทิศตะวันออก จรดคูน้ำกันอาณาเขตเดิมกับวัดทองศาลางามปัจจุบันถูกถมหมดแล้ว 
- ทิศตะวันตก จรดคลองบางจาก 
 

ประวัติความเป็นมา 
ประวัติความเป็นมาของวัดไม่ปรากฏหลักฐานหรือมีขอมูลอ้างอิงใดๆ ว่าสร้างขึ้นสมัยใดสันนิษฐานว่าคงมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตามคำบอกเล่าสืบทอดกันมา และคงไดรับการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่หลายครั้ง แม้แต่ชื่อวัดก็ไม่ทราบชื่อเดิม ชื่อที่ใช้ในปัจจุบันก็เป็นชื่อซึ่งเรียกกันในหมู่ชาวพื้นถิ่นและเรียกกันมาเรื่อยๆ แต่หลักฐานที่เหลืออยูชัดเจนอย่างหนึ่งคือ เจดียบรรจุอัฐิทรงกลมทางทิศใต้ของพระอุโบสถ ที่สวนฐานมีแผ่นศิลาจำหลักข้อความซึ่งสรุปไดวา เจดียนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกและใช้บรรจุอัฐิของ “พระพิศาลผลพานิช” ภายหลังจากทีได้จัดการฌาปนกิจศพที่วัดจักรวรรดิราชาวาส และเมื่อได้ไปค้นคว้าในเอกสารสารบาญชีสวนที่ ๑ ในสมัย ร.๕ ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๖ ทำให้ทราบว่าพระพิศาลผล-พานิชเดิมชื่อ “จีนสือ” เป็นขุนนางเชื้อสายจีนซึ่งรับราชการตำแหน่งสำคัญในกรมท่าซ้ายและตั้งบ้านเรือนอยูริมน้ำเจ้าพระยาฝั่งทิศตะวันตก(ฝงธนบุรี) หรือบริเวณศาลเจ้าโรงฟอกหนังในปัจจุบัน จากตำแหน่งที่ตั้งของเจดีย์องคนี้พอจะสันนิษฐานไดว่าพระพิศาลผลพานิชน่าจะมีความสำคัญต่อวัดกำแพงนี้เป็นอย่างมาก เป็นไปได้วาอาจเป็นผู้ออกทุนทรัพย์ในการซ่อมแซมวัด ประกอบกับข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์พระครูศรีปริยัตยานุรักษ์ เจ้าอาวาสองคปัจจุบันพบว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-เจ้าอยูหัวเคยเสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานพระกฐินต้นเป็นการส่วนพระองคที่วัดนี้ และได้พระราชทานแจกันกังไสไว ๑ คู่โดยลงพระปรมาภิไธยกำกับไว้ ซึ่งทานเจ้าอาวาสได้เคยเก็บรักษาไว้ แตถูกขโมยไปเมื่อ ๑๐กว่าปีมาแลว แน่นอนว่าอย่างน้อยเราไดขอมูลว่าวัดนี้จะต้องเคยเป็นวัดสำคัญที่มีคหบดีหรือขุนนางอุปถัมภ์ละผ่านการบูรณะมาแล้วหลายครั้ง

ข้อมูลประวัติ

       เกิด                     วันอังคาร เดือน 6 ปีวอก พ.ศ.2403  เป็นคนบางบอนใต้ บางขุนเทียน ธนบุรี  เป็นบุตรของ นายเหลือ  นางทอง  ทองเหลือ

                อุปสมบท               อายุ 23 ปี ตรงกับ พ.ศ. 2426  ณ พัทธสีมาวัดกำแพง

                มรณภาพ               ปี 2482

                รวมสิริอายุ             79 ปี 56 พรรษา

วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

                วัตถุมงคลที่ขึ้นชื่อและได้รับความนิยมมากที่สุดของท่าน ได้แก่ เหรียญหล่อ ปี2478   ซึ่งสร้างขึ้นเนื่องในโอกาสมีอายุครบรอบ 75 ปี มี 2 พิมพ์ คือ เหรียญจอบ  และเหรียญรูปไข่   ซึ่งทั้งสองพิมพ์นี้ได้จัดว่าเป็นที่นิยมมากที่สุด  สร้างจากเนื้อโลหะผสมทองเหลือง  ด้านหลังเหรียญปรากฏอักษรภาษาไทยเป็นตัวนูนระบุว่า “ที่ระฤก ๔๗๘”        

พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา

          พุทธคุณในเหรียญรุ่นนี้เด่นทาง  คงกระพันชาตรี  และมหาอุตม์

 
พระเครื่องอื่น ๆ
ไม่พบสินค้าในฐานข้อมูล หมวดหมู่นี้
 
ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

พระเครื่องแนะนำ

เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย ศิลป์วัดกลาง จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


สิงห์หน้าโบสถ์หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี  

พระโชว์ บาท


ตะกรุดโสฬสมงคลหลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง ตะกั่วถ้ำชา จ.นนทบุรี  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย พิมพ์พิเศษ(หน้าหมา) จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


กะลาราหูหลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 2  

พระโชว์ บาท


หนุมานหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 1  

พระโชว์ บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด